หน้าแรก

cover-website---centerpile-p2-foundation-blue_optimizedcover-website---centerpile-p1-foundation-blue-(1)_optimizedcover-website---centerpile-p0-blue-(1)_optimized
เสาเข็มเจาะ

เรื่องเสาเข็มเจาะต้องที่ CENTERPILE
ศูนย์รวมเสาเข็มเจาะ ผู้ให้บริการรับทำเสาเข็มเจาะ ได้มาตรฐานโดยวิศวกรควบคุมทุกขั้นตอน

ขอยินดีต้อนรับสู่ CENTERPILE เสาเข็มเจาะ วงการก่อสร้างปัจจุบัน เสาเข็มเจาะคือ งานฐานรากเปรียบเสมือนรากเเก้ว อันเป็นหัวใจสำคัญของตึกราม อาคาร บ้านเรือน เสาเข็ม และประเภทเสาเข็มเจาะ จึงได้รับความนิยม เพราะสามารถตอบโจทย์ งานเสาเข็มของวิศวกรผู้ดูเเลโครงการก่อสร้างต่างๆได้ดี จึงเป็นสาเหตุให้เกิดการเเข่งขัน ของผู้ให้บริการเสาเข็มเจาะ เกิด เข็มเจาะรายย่อยในวงการมากมาย ดังนั้นการเลือกผู้มีประสบการณ์เสาเข็ม รวมทั้ง เสาเข็มเจาะระบบแห้ง จึงต้องเป็นไปอย่างรอบคอบ เข้าใจวิธีทำเสาเข็มเจาะอย่างเเท้ จริง CENTERPILE ยินดีให้คำปรึกษา เสาเข็มเจาะ ราคา ขอใบราคาและสำรวจหน้างานฟรี

<br/>
<br/>
สิ่งปลูกสร้างจากเสาเข็มเจาะ

ขอใบเสนอราคา

 

Verification

เสาเข็มเจาะ15 อันดับ ผู้ขอราคาเสาเข็มเจาะล่าสุด

ข้อดีเสาเข็มเจาะ งานสร้างรากฐาน หรือเสาเข็ม เข็มเจาะ โดยทั่วไป จะเเบ่งออกได้ 2 ประเภทที่สำคัญๆ ดังนี้คือ การทำเสาเข็มเข็มตอก และการทำ เสาเข็มเจาะ พูดให้เข้าใจง่ายๆก็คือ เสาเข็มเเบบตอก กับเเบบเจาะ นั่นเอง ซึ่งแต่ละเเบบ จะมีวิธีการทำงาน และข้อดีข้อเสียเเตกต่างกันไป ซึ่งเราจะต้องเลือกเเบบที่เหมาะสมกับงานหรือโครงการก่อสร้างนั่นๆ เพื่อความปลอดภัย และหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ตามมา เช่น การสั่นสะเทือน จน เกิดอันตรายต่ออาคารพื้นที่ไกล้เคียง โดยเฉพาะในงานก่อสร้างที่มีพื้นที่เเคบๆ เสาเข็มเจาะ สามารถตอบโจทย์ปัญหาเหล่านี้ได้ ภาพงานรากฐานของโครงสร้างที่ไม่ดี ส่งผลให้โครงการประสบความเสียหายที่รุนแรง”

เสาเข็มเจาะ

เสาเข็มเจาะ

พันธมิตร

เสาเข็มเจาะ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มเจาะ

ลูกค้าของเรา

เสาเข็มเจาะ เสาเข็มเจาะหล่อในที่ (Bored pile) คือเสาเข็มที่ก่อสร้างโดยหล่อคอนกรีตลงไปในดินที่ ถูกเจาะเป็นหลุมไว้ล่วงหน้าให้เต็ม เป็นวิธีก่อสร้างที่ช่วยแก้ปัญหาที่พบในการใช้เสาเข็มตอก ทั้งการขนย้ายเสาเข็มเข้าพื้นที่ก่อสร้าง การรบกวนอาคารรอบข้างเนื่องจากแรงสั่นสะเทือน จากการตอก รวมทั้งการควบคุมต าแหน่งและแนวของเสาเข็ม การเจาะอาจกระท าโดย กระบวนการแห้ง (Dry process) คือการเจาะโดยไม่ต้องใช้น้ำช่วยสำหรับกรณีที่ดินข้างหลุม เจาะมีเสถียรภาพ หากดินข้างหลุมเจาะพังทลาย ต้องใส่น้ าผสมสารเบนโทไนท์หรือโพลิ เมอร์ลงไปในหลุมเพื่อช่วยพยุงดินข้างหลุม เรียกว่ากระบวนการเปียก (Wet process) ส าหรับการเจาะดินสามารถกระท าได้หลายวิธี ได้แก่ การเจาะแบบหมุน (Rotary type ) แบบขุด (Excavation type ) และการเจาะแบบทุ้งกระแทก (Percussion type ) ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายที่สุด เหมาะกับการก่อสร้างขนาดเล็กในพื้นที่แคบ การควบคุมคุณภาพของการก่อสร้างมีส่วนที่ ส าคัญคือ การก าหนดต าแหน่งของเสาเข็ม การควบคุมแนวการเจาะให้ได้แนวดิ่ง ความ สะอาดและเรียบร้อยของหลุมเจาะ การติดตั้งเหล็กเสริม และการเทคอนกรีต หากการ ก่อสร้างเสาเข็มเจาะกระท าโดยบริษัทที่ดีและมีประสบการณ์แล้ว วิศวกรของบริษัทจะเป็นผู้ ควบคุมดูแลคุณภาพของเสาเข็มเจาะ

ผลงานของเรา

ประเภทของโครงสร้างฐานราก : รูปแบบของเข็มที่ใช้ 2 ชนิดพร้อมข้อดี-ข้อเสีย

ประเภทของโครงสร้างฐา...
อ่านเพิ่มเติม
ประเภทของโครงสร้างฐานราก : รูปแบบของเข็มที่ใช้ 2 ชนิดพร้อมข้อดี-ข้อเสีย

ปัญหาโลกแตก!!! บ้านทรุดในพื้นที่แคบแก้ได้ด้วยเข็มไมโครไพล์

ปัญหาโลกแตก!!! บ้านท...
อ่านเพิ่มเติม
ปัญหาโลกแตก!!! บ้านทรุดในพื้นที่แคบแก้ได้ด้วยเข็มไมโครไพล์

โครงการรัชดา 32

โครงการรัชดา 32
อ่านเพิ่มเติม
โครงการรัชดา 32

โครงการพหลโยธิน 24

โครงการพหลโยธิน 24
อ่านเพิ่มเติม
โครงการพหลโยธิน 24

พระราม 9 ซอย 19

พระราม 9 ซอย 19
อ่านเพิ่มเติม
พระราม 9 ซอย 19

โครงการจรัญ 71 แยก 5

โครงการจรัญ 71 แยก 5
อ่านเพิ่มเติม
โครงการจรัญ 71 แยก 5

โครงการกรุงธนบุรี 6 แยก 8

โครงการกรุงธนบุรี 6 ...
อ่านเพิ่มเติม
โครงการกรุงธนบุรี 6 แยก 8

โครงการโรงแรม ถนนเพชรบุรี ประตูน้ำ (VD Hotel) ขนาด 60 ซ.ม.จำนวน ลึก 38 เมตร 51 ต้น

โครงการโรงแรม ถนนเพช...
อ่านเพิ่มเติม
โครงการโรงแรม ถนนเพชรบุรี ประตูน้ำ (VD Hotel) ขนาด 60 ซ.ม.จำนวน ลึก 38 เมตร 51 ต้น

Atmoz แจ้งวัฒนะ – อาคาร C ขนาด 60 ซ.ม. ลึก 21 ม. จำนวน 92 ต้น

Atmoz แจ้งวัฒนะ - อา...
อ่านเพิ่มเติม
Atmoz แจ้งวัฒนะ – อาคาร C ขนาด 60 ซ.ม. ลึก 21 ม.  จำนวน 92 ต้น

โครงการ Luciano อาคารสำนักงาน ค.ส.ล. 4 ชั้น ต.หนองปรือ บางละมุง ขนาด 60 ซ.ม.จำนวน ลึก 24 ม. 46 ต้น

โครงการ Luciano อาคา...
อ่านเพิ่มเติม
โครงการ Luciano อาคารสำนักงาน ค.ส.ล. 4 ชั้น ต.หนองปรือ บางละมุง ขนาด 60 ซ.ม.จำนวน ลึก 24 ม. 46 ต้น

Bored pile Foundation ความรู้เพิ่มเติม คิดตอบแบบชาวบ้าน เสาเข็มเจาะคือ ฐานรากของอาคาร ประเภทเจาะดินลงไปแล้วเทคอนกรีตตามแบบหล่อ เพื่อให้เป็นเสาเข็มยึด ส่งถ่ายน้ำหนักของบ้านหรืออาคารลงสู่ดินที่อยู่ลึกลงไป เปรียบเหมือนรากแก้วของต้นไม้ ตามที่เราๆท่านๆได้เรียนรู้กันมา และผู้คนส่วนใหญ่ก็มักจะเข้าใจว่าเสาเข็มมีแบบเดียวที่เห็นกันทั่วไปตามท้องถนน ซึ่งจะเป็นแบบตอก คุณภาพก็ไม่ได้แตกต่างกัน เพียงแต่เลือกชนิดตามงบประมาณ พื้นที่การทำงาน และปัจจัยอื่นๆประกอบ เสาเข็มเจาะดีอย่างไร เสาเข็มเจาะสามารถทำงานในที่คับแคบได้ ไม่รบกวนเพื่อนบ้าน ไม่ส่งผลกระทบกับโครงสร้างหรืออาคารข้างเคียง เพราะแรงสั่นสะเทือนน้อย สามารถใช้กับงานต่อเติมได้ แต่ข้อเสียก็มีคือ ราคาค่าเสาเข็มเจาะจะแพงกว่า เสาเข็มตอก พอสมควร และจำเป็นต้องควบคุมคุณภาพในการทำงานมากกว่าเสาเข็มตอก

เสาเข็มเจาะ คือ การเจาะลงไปใต้พื้นดิน และเทคอนกรีตลงไปในหลุมที่เจาะขึ้นรูปเป็นเสาเข็มรูปเสา เมื่อปูนก่อตัวแห้ง มีหน้าที่แบกรับนํ้าหนักเป็นฐานรากของอาคารตึกรามบ้านเรือนต่างๆ ซึ่งขนาดและจำนวนแล้วแต่เงื่อนไขสภาพแวดล้อมและความต้องการของเจ้าของงาน
ปกติเสาเข็มที่คนเรามักรู้จักเห็นกันทั่วไปตามท้องถนน หรือโครงการใหญ่ๆ หลายหมื่นล้าน พันล้าน โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้า ทางด่วน จะเป็นแบบตอกหรือที่เรียสกว่าเสาเข็มตอก ใช้เครื่องจักรตอกลงไปในดิน ซึ่งข้อดีของเสาเข็มตอกก็คือ เสาเข็มตอกจะผลิตสำเร็จรูปมาจากโรงงาน เราสามารถตรวจสอบสภาพได้ แต่ข้อเสียก็คือ อย่างที่เราทราบกัน เวลาตอกลงไปในพื้นดินแต่ละที่ดังสะเทือนไปทั่วเมือง มีความสั่นกระเทือนมาก ไม่เหมาะที่จะนำมาใช้บริเวณหรือสภาพแวดล้อมที่เป็นชุมชน
ดังนั้น เสาเข็มโดยทั่วไป จึงสามารถแยกออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน นั่นก็คือ เสาเข็มตอก และ เสาเข็มเจาะ นั่นเอง นอกจากนี้เสาเข็มเจาะยังแบ่งออกเป็นเสาเข็มเจาะแบบแห้ง และเสาเข็มเจาะแบบเปียก อีกด้วย
เสาเข็มเจาะแบบแห้ง เป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 เมตร (ขึ้นอยู่กับระดับชั้นของดิน) ที่สามารถรับน้ำหนักได้120 ตัน วิธีการเจาะก็คือ ทำการเจาะดินลงไป (แบบแห้ง ๆ นั่นเอง) แล้วก็หย่อนโครงเหล็ก เทคอนกรีต ลงไปในหลุม ที่เราเจาะเตรียมไว้ พอเมื่อคอนกรีตแห้งก็จะได้เสาเข็ม ราคาอาจจะแพงกว่าประเภทเสาเข็มตอก แต่ทว่าจะมีข้อดีมากมาย จึงเป็นที่นิยมของวิศกร และช่างวิศกรผู้ควบคุมโครงการต่างๆ เช่น ลดปัญหาการเกิดมลภาวะ ซึ่งน้อยมากเมื่อเทียบกับแบบเสาเข็มตอก ไม่ว่าเป็นการเคลื่อนตัวของดิน การสั่นสะเทือนของดิน ฝุ่นละออง จึงเป็นที่นิยมใช้ ในที่ที่ชุมชน หมู่บ้านต่างๆ เป็นต้น

เป็นที่เข้าใจกัน ในวงการงานรากฐานของสิ่งปลูกสร้างประเภทต่างๆ รูปแบบการเลือกใช้งานหรือประเภทของเสาเข็ม จะเป็นไปตามความต้องการของเจ้าของสิ่งปลูกสร้าง และวิศกร ตลอดจนปัจจัยอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องในการเลือกประเภทของงานผลิตรากฐานเสาเข็มของอาคาร ตึกรามบ้านช่องต่างๆ เราอาจสรุปได้พอเป็นแนวทาง ดังนี้คือ
1. สภาพสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ สภาพดิน สิ่งแวดล้อมรอบข้าง
2. งบประมาณที่ต้องใช้ในการทำเสาเข็ม
3. ความคิดเห็นของวิศกร
4. สภาพอากาศ ภูมิประเทศ

เสาเข็มเจาะ รับน้ำหนัก

ปัจจุบันการวงการก่อสร้างขนาดเล็กและปานกลาง ที่ต้องออกแบบฐานเสาเข็ม ส่วนใหญ่นิยมใช้เสาเข็มเจาะแบบแห้งในงานก่อสร้างอาคารกัน โดยเฉพาะบริเวณที่มีสิ่งปลูกสร้างเดิมอยู๋รอบๆไซน์งาน ซึ่งเสาเข็มเจาะแบบแห้งจะช่วยลดปัญหาการสั่นสะเทือนได้ดีกว่าแบบตอก

ด้วยเหตุนี้เสาเข็มเจาะระบบแห้ง จึงเป็นที่นิยมอย่างมากในวงการก่อสร้างของไทยเรา ด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น ประหยัดพื้นที่การทำงาน ลดการสั่นสะเทือน ควบคุมความปลอดภัยได้ดี และอื่นๆ

การทดสอบเสาเข็มเจาะ ในการรับน้ําหนักของเสาเข็ม หรือ เสาเข็มเจาะ รับน้ำหนัก จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้

1. ทดสอบความสามารถในการรับน้ำหนักแบบ ( Proof Tests ) วิธีนี้จะเป็นการทดสอบว่าเสาเข็มเจาะที่ออกแบบไว้สามารถรับน้ำหนักบรรทุกของสิ่งปลูกสร้าง ตามแนวแกนหรือทางด้านข้างตามที่ประมาณไว้

2. ทดสอบความสามารถถ่ายแรงกับชั้นดิน ( Load Transfer Tests ) จะเป็นการทดสอบเพื่อวัดค่าความต้านทาน ที่ผิวและที่ปลายเสาเข็มเจาะ

บทความนี้เป็นหลักการคร่าวของเสาเข็มเจาะ รับน้ำหนัก
หากมีข้อสังสัยติดต่อสอบถามวิศกรผู้คุมงานของท่าน

ภาพตึกถล่ม ปัญหางานรากฐานเสาเข็มเจาะ ที่ควรเรียนรู้ป้องกัน

หัวใจสำคัญของต้นไม้คือรากแก้ว และอาคารสิ่งปลูกสร้าง หัวใจสำคัญก็คือ เสาเข็มที่ยึดระหว่างตัวอาคารกับพื้นดิน ซึ่งทั้งสองอย่างจะคอยถ่ายเทนํ้าหนักซึ่งกันและกัน ดังนั้นงานรากฐานผลิตเสาเข็ม ไม่ว่าจะเป็นชนิดประเภทไหนก็ตาม เช่น เสาเข็มประเภทตอก หรือเสาเข็มเจาะ สิ่งที่เราจะต้องคำนึงถึงความมั่นคง แข็งแรง สามารถรับนํ้าหนักตามวิศกรที่ได้ออกแบบและวางแผนไว้ตั้งแต่เริ่มโครงการ หากไม่รัดกุม หรือขาดประสบการณ์ ไม่ว่าจะปัญหาอะไรก็ตาม ย่อมนำมาซึ่งความสูญเสียอย่างที่ไม่ควรเกิดขึ้น สิ่งเหล่านี้จึงเป็นอุธาหรณ์ ในผู้ที่เกี่ยวข้องใช้ความรอบคอบในการคำนวณหรือตัดสินใจ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่เราอาจคาดไม่ถีง และเสียใจไปตลอดชีวิต

Scroll Up